เกี่ยวกับซีพีเอฟ
เกี่ยวกับซีพีเอฟ
ซีพีเอฟดำเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารแบบครบวงจร เพื่อนำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพบนมาตรฐานการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและกระบวนการทำงานที่รับผิดชอบต่อสังคมโดยรวม
เกี่ยวกับซีพีเอฟ สำหรับบุคลากร
ธุรกิจ
ธุรกิจ ซีพีเอฟ
ซีพีเอฟมุ่งมั่นนำเสนอผลิตภัณฑ์คุณภาพที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาดถูกสุขอนามัย ปลอดภัย และตรวจสอบย้อนกลับได้
ภาพรวมธุรกิจ
บรรษัทภิบาล
บรรษัทภิบาล
พัฒนาการความสำเร็จอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถบรรลุเป้าหมายการเติบโต ทางธุรกิจและเติมเต็มความมุ่งมั่นที่จะสร้างคุณค่าร่วมในระยะยาวอย่างยั่งยืน ไปพร้อมกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน
our mision
สารถึงผู้ถือหุ้น
บริษัทยังคงพยายามอย่างเต็มกำลังในการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์กร เพื่อเป้าหมายการเติบโตอย่างต่อเนื่อง
นักลงทุนสัมพันธ์
นักลงทุนสัมพันธ์
บริษัทมุ่งเน้นที่จะสร้างผลตอบแทนด้วยความใส่ใจให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน อันจะนำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
นักลงทุนสัมพันธ์ ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์
ความยั่งยืน
ความยั่งยืน
เพื่อเสริมสร้าง “ศักยภาพและโอกาสการเติมโต“ สู่ “การสร้างคุณค่าร่วมกับทุกภาคส่วน“
ซีพีเอฟกับความยั่งยืน
sustainability
ซีพีเอฟกับความยั่งยืน
ซีพีเอฟขับเคลื่อนธุรกิจบนหลักความรับผิดชอบต่อสังคมสู่ความยั่งยืนภายใต้ 3 เสาหลัก “อาหารมั่นคง สังคมพึ่งตน และดินน้ำป่าคงอยู่“
สื่อเผยแพร่
สื่อเผยแพร่
ศูนย์ข่าวสารซีพีเอฟ นำเสนอเรื่องราวครอบคลุมทั้งความยั่งยืน นวัตกรรม ข่าวสารอุตสาหกรรม และกิจกรรมอื่นๆ
สื่อเผยแพร่
media-center
สื่อเผยแพร่
ติดตามข่าวสารล่าสุด และเรื่องราวดีๆ จากซีพีเอฟได้ที่นี่
THAI
ประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนที่เปิดเผยในรายงานความยั่งยืนซีพีเอฟกำหนดขึ้นตามหลักการของ GRI Standard 2021 (GRI 3) เพื่อประเมินประเด็นความยั่งยืนที่มีนัยสำคัญภายใต้หลัก 4 ประการของ GRI Standard อันประกอบด้วย บริบทความยั่งยืน (Sustainability Context) ประเด็นที่มีนัยสำคัญ (Materiality) ความครบถ้วนสมบูรณ์ (Completeness) และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Inclusiveness) โดยมีกระบวนการประเมินประเด็นความยั่งยืนที่มีนัยสำคัญ 4 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เข้าใจบริบทขององค์กร

รวบรวมประเด็นด้านความยั่งยืนที่สอดคล้องกับ GRI Standard ตามกลุ่มอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร G4-FP (Food Processing) และมาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 2 ระบุผลกระทบที่เกิดขึ้นจริง และอาจเกิดขึ้น

รวบรวมความคิดเห็น/ข้อกังวล (ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ) ของผู้มีส่วนได้เสียจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อระบุผลกระทบที่ได้รับ ทั้งที่เกิดขึ้นจริงและอาจเกิดขึ้น

ขั้นตอนที่ 3 ประเมินความสำคัญของผลกระทบ

วิเคราะห์ระดับความรุนแรงของผลกระทบและโอกาสในการเกิด เพื่อประเมินระดับของผลกระทบ

ขั้นตอนที่ 4 จัดลำดับความสำคัญของผลกระทบ

ทบทวนประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนเทียบกับมุมมองของผู้เชี่ยวชาญ และประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนของกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน และจัดลำดับประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนสำหรับการรายงานข้อมูล

สามารถดูรายละเอียดประเด็นสำคัญด้านความยั่งยืนของซีพีเอฟในปี 2565 ได้ที่ รายงานความยั่งยืน ประจำปี 2565 หน้าที่ 14-15

cpfworldwide.com ใช้คุกกี้บนเว็บไซต์นี้เพื่อการบริหารเว็บไซต์ และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานของท่าน (เรียนรู้เพิ่มเติม)
x